‘ระบบสุริยะ’ แบบประชิด | ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์ EP.13

826 มุมมอง

0   0

เคยสงสัยกันไหมว่า ‘ระบบสุริยะ’ ของเรานั้น มีขอบเขตสิ้นสุดตรงจุดไหน เหตุใดจู่ๆ ดาวพลูโตที่เคยถูกนับเป็นหนึ่งในดาวเคราะห์จึงถูกลดสถานะ และเมื่อพ้นไปจากระบบสุริยะ เราจะเจอกับอะไรบ้าง?

ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์ เอพิโสดนี้ พาไปทำความรู้จัก ‘ระบบสุริยะ’ แบบประชิด ในฐานะที่มันเป็นเสมือน ‘บ้าน’ ของพวกเราในจักรวาลอันไพศาล

ดำเนินรายการโดย ป๋องแป๋ง-อาจวรงค์ จันทมาศ นักสื่อสารวิทยาศาสตร์ และ ฟาง-รัฐโรจน์ จิตรพนา ครีเอทีฟมากฝีมือจาก THE STANDARD

Time Index:
00:00 เริ่มรายการ
01:20 ระบบสุริยะ คืออะไร
04:06 ขอบระบบสุริยะ อยู่ตรงไหน
05:41 ทำไมดาวพลูโตจึงถูกลดสถานะ
10:12 แถบไคเปอร์ และเมฆออร์ต
14:02 ลมสุริยะ
16:46 ยาน Voyager 1 และ 2
18:35 เราศึกษาระบบสุริยะไปทำไม

ติดตาม ใดๆ ในโลกล้วนฟิสิกส์ ในช่องทางอื่นๆ
Apple Podcasts: https://apple.co/3UcvQJy
Spotify: https://spoti.fi/3zudPyr
SoundCloud: https://bit.ly/3TSsRpB
Blockdit: https://bit.ly/3SU95ZA
Website: https://bit.ly/3Wk3JKj

#ระบบสุริยะ #ใดๆในโลกล้วนฟิสิกส์ #TheStandardPodcast
ดูเพิ่มเติม

ความเห็น

0 ความเห็น